วันนี้เวลา 19.30 น ⏰. มีข่าวดัชนีจีดีพี สหรัฐอเมริกา 🇺🇸
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (#GDP) จะวัดค่าการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าทั้งหมดของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจในรอบปี เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ
#Previous (ครั้งก่อน) : 2.1%
#Forecast (คาดการณ์) : -3.9%
ค่าที่สูงกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงบวก/ตลาดกระทิงสำหรับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐขณะที่ค่าที่ต่ำกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงลบ/ตลาดหมีสำหรับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
คำแนะนำ ✍🏼
🔻 SELL: USDJPY 🇺🇸🇯🇵 : ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : ที่เวลา 19.30 ⏰ น.
ปล.‼️.ท่านใดสนใจอยากเข้ามา #Join ร่วมสนุกกับการเทรดของผมแบบครบรส
🗨 .ทัก Chat เข้ามาได้ครับ 🔛 @tantrader ที่ 👉 (#Telegram) 📯
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (#GDP) จะวัดค่าการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าทั้งหมดของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจในรอบปี เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ
#Previous (ครั้งก่อน) : 2.1%
#Forecast (คาดการณ์) : -3.9%
ค่าที่สูงกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงบวก/ตลาดกระทิงสำหรับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐขณะที่ค่าที่ต่ำกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงลบ/ตลาดหมีสำหรับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
คำแนะนำ ✍🏼
🔻 SELL: USDJPY 🇺🇸🇯🇵 : ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : ที่เวลา 19.30 ⏰ น.
ปล.‼️.ท่านใดสนใจอยากเข้ามา #Join ร่วมสนุกกับการเทรดของผมแบบครบรส
🗨 .ทัก Chat เข้ามาได้ครับ 🔛 @tantrader ที่ 👉 (#Telegram) 📯
The Dollar Smile Theory
คุณเคยสงสัยมั้ยว่าทำไมดอลลาร์จึงแข็งแกร่งได้ทั้งในสภาวะเศรษฐกิจที่ดีและไม่ดี 🤔 “Stephen Jen” อดีตนักเศรษฐศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญด้านสกุลเงิน ได้ให้ความกระจ่างนี้ด้วยทฤษฏีของเขา ทีมีชื่อว่า “Dollar Smile Theory” ทฤษฎีของเขาแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมหลัก 3 ประการของสกุลเงินดอลลาร์ ดังสถานการณ์ตัวอย่างต่อไปนี้ 👇👇👇
⭕️ สถานการณ์ที่ 1: ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นเพราะ “Risk Aversion” ที่ทำให้นักลงทุนพยายามหนีจากความเสี่ยงโดยหาที่ปลอดภัยให้ทรัพย์สินของตน เองด้วยการเปลี่ยนเป็นสกุลเงินที่ปลอดภัย เช่น ดอลลาร์ 🇺🇸 (USD) และ เยน 🇯🇵 (JPY)
เมื่อนักลงทุนคิดว่าสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทั่วโลกนั้นกำลังสั่นคลอน พวกเค้าจะลังเลที่จะไล่ตามสินทรัพย์ที่เสี่ยง และจะหันมาซื้อสกุลเงินดอลลาร์ 🇺🇸 (USD) ที่มีอัตราความเสี่ยงน้อยมากกว่า โดยไม่คำนึงถึงสภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา
⭕️ สถานการณ์ที่ 2: ค่าเงินดอลลาร์ลดต่ำลงจนทำจุดต่ำสุดใหม่ สะท้อนให้เห็นถึงความอ่อนแอของค่าเงินจากพื้นฐานเศรษฐกิจที่อ่อนแอ และการปรับลดอัตราดอกเบี้ยก็อาจผลทำให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลงได้เช่นกัน
⭕️ สถานการณ์ที่ 3: ค่าเงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้นเนื่องจากการเติบโตของเศรษฐกิจ สัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจสร้างให้เกิดความความเชื่อมั่นที่แข็งแกร่งขึ้น ต่อค่าเงินดอลลาร์ เมื่อเศรษฐกิจมีการเติบโตขึ้น #GDP ของประเทศก็โตตาม พร้อมทั้งความคาดหวังว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ทำให้นักลงทุนเริ่มสนใจที่จะลงทุนในดอลลาร์
ทฤษฎีนี้ถูกนำมาใช้เมื่อวิกฤติทางการ เงินเริ่มต้นขึ้น เมื่อปี 2007 จำได้ว่า"เมื่อค่าเงินดอลลาร์มีการเติบโตสูงสุดในขณะที่สภาวะเศรษฐกิจของโลก กำลังย่ำแย่ "
และเมื่อตลาดผ่านจุดต่ำสุดมาได้ในเดือน มีนาคม 2009 นักลงทุนก็หันไปสนใจสิ่งที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า และก็ทำให้ U.S.Dollar กลายเป็นสกุลเงินที่แย่ที่สุดในปี 2009
คุณเคยสงสัยมั้ยว่าทำไมดอลลาร์จึงแข็งแกร่งได้ทั้งในสภาวะเศรษฐกิจที่ดีและไม่ดี 🤔 “Stephen Jen” อดีตนักเศรษฐศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญด้านสกุลเงิน ได้ให้ความกระจ่างนี้ด้วยทฤษฏีของเขา ทีมีชื่อว่า “Dollar Smile Theory” ทฤษฎีของเขาแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมหลัก 3 ประการของสกุลเงินดอลลาร์ ดังสถานการณ์ตัวอย่างต่อไปนี้ 👇👇👇
⭕️ สถานการณ์ที่ 1: ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นเพราะ “Risk Aversion” ที่ทำให้นักลงทุนพยายามหนีจากความเสี่ยงโดยหาที่ปลอดภัยให้ทรัพย์สินของตน เองด้วยการเปลี่ยนเป็นสกุลเงินที่ปลอดภัย เช่น ดอลลาร์ 🇺🇸 (USD) และ เยน 🇯🇵 (JPY)
เมื่อนักลงทุนคิดว่าสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทั่วโลกนั้นกำลังสั่นคลอน พวกเค้าจะลังเลที่จะไล่ตามสินทรัพย์ที่เสี่ยง และจะหันมาซื้อสกุลเงินดอลลาร์ 🇺🇸 (USD) ที่มีอัตราความเสี่ยงน้อยมากกว่า โดยไม่คำนึงถึงสภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา
⭕️ สถานการณ์ที่ 2: ค่าเงินดอลลาร์ลดต่ำลงจนทำจุดต่ำสุดใหม่ สะท้อนให้เห็นถึงความอ่อนแอของค่าเงินจากพื้นฐานเศรษฐกิจที่อ่อนแอ และการปรับลดอัตราดอกเบี้ยก็อาจผลทำให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลงได้เช่นกัน
⭕️ สถานการณ์ที่ 3: ค่าเงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้นเนื่องจากการเติบโตของเศรษฐกิจ สัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจสร้างให้เกิดความความเชื่อมั่นที่แข็งแกร่งขึ้น ต่อค่าเงินดอลลาร์ เมื่อเศรษฐกิจมีการเติบโตขึ้น #GDP ของประเทศก็โตตาม พร้อมทั้งความคาดหวังว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ทำให้นักลงทุนเริ่มสนใจที่จะลงทุนในดอลลาร์
ทฤษฎีนี้ถูกนำมาใช้เมื่อวิกฤติทางการ เงินเริ่มต้นขึ้น เมื่อปี 2007 จำได้ว่า"เมื่อค่าเงินดอลลาร์มีการเติบโตสูงสุดในขณะที่สภาวะเศรษฐกิจของโลก กำลังย่ำแย่ "
และเมื่อตลาดผ่านจุดต่ำสุดมาได้ในเดือน มีนาคม 2009 นักลงทุนก็หันไปสนใจสิ่งที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า และก็ทำให้ U.S.Dollar กลายเป็นสกุลเงินที่แย่ที่สุดในปี 2009
วันที่ 30 กรกฎาคม เวลา 19.30 น. 🇺🇸 USD : Advance GDP q/q : ดัชนีจีดีพี สหรัฐอเมริกา
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (#GDP) จะวัดค่าการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าทั้งหมดของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจในรอบปี เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ
ค่าก่อนหน้า : -5.0%
ค่าคาดการณ์ : -34.5%
วิเคราะห์จากค่าคาดการณ์ 💹 : การรายงาน GDP ซึ่งเป็นการปรับตัวเลขของไตรมาสแรกและคาดว่าจะยังคงหดตัวลงเท่าเดิมที่ 4.8% ถือว่าไม่มีอะไรที่น่าแปลกใจ
ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : เทรดลง 🔻 USD JPY 🇺🇸🇯🇵 : เวลา 19.30 น.
⚠️ (คำเตือน : การคาดการณ์นี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณในการนำไปใช้ต่อนะครับ)
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (#GDP) จะวัดค่าการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าทั้งหมดของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจในรอบปี เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ
ค่าก่อนหน้า : -5.0%
ค่าคาดการณ์ : -34.5%
วิเคราะห์จากค่าคาดการณ์ 💹 : การรายงาน GDP ซึ่งเป็นการปรับตัวเลขของไตรมาสแรกและคาดว่าจะยังคงหดตัวลงเท่าเดิมที่ 4.8% ถือว่าไม่มีอะไรที่น่าแปลกใจ
ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : เทรดลง 🔻 USD JPY 🇺🇸🇯🇵 : เวลา 19.30 น.
⚠️ (คำเตือน : การคาดการณ์นี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณในการนำไปใช้ต่อนะครับ)
วันที่ 31 กรกฎาคม เวลา 19.30 น. มีข่าว 🇨🇦 CAD : GDP m/m: ดัชนีจีดีพี (GDP) แคนาดา
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product (#GDP)) จะวัดการเปลี่ยนแปลงที่คิดคำนวณในรอบหนึ่งปีในมูลค่าของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจที่เป็นมูลค่าที่ได้ปรับชดเชยอัตราเงินเฟ้อแล้ว
เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ ประเทศแคนาดาจะออกรายงานข้อมูลล่าสุดของข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในทุกๆ เดือน
ค่าก่อนหน้า : -11.6%
ค่าคาดการณ์ : 3.5%
วิเคราะห์จากค่าคาดการณ์💹 : การรายงาน GDP ของประเทศแคนนาดา 🇨🇦
จะมีแนวโน้มทีดีขึ้น เพราะ ตัวเลขปรับตัวมาเป็นบวก จากการติดลบค่อนข้างเยอะนะครับ
ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : เทรดขึ้น 🔺 CAD JPY 🇨🇦🇯🇵 : เวลา 19.30 น.
(คำเตือน : การคาดการณ์นี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณในการนำไปใช้ต่อนะครับ)
รายงานผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product (#GDP)) จะวัดการเปลี่ยนแปลงที่คิดคำนวณในรอบหนึ่งปีในมูลค่าของสินค้าและบริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจที่เป็นมูลค่าที่ได้ปรับชดเชยอัตราเงินเฟ้อแล้ว
เป็นการวัดค่ากิจกรรมแบบกว้างๆ และเป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่จะทราบถึงภาวะ'เศรษฐกิจ ประเทศแคนาดาจะออกรายงานข้อมูลล่าสุดของข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในทุกๆ เดือน
ค่าก่อนหน้า : -11.6%
ค่าคาดการณ์ : 3.5%
วิเคราะห์จากค่าคาดการณ์💹 : การรายงาน GDP ของประเทศแคนนาดา 🇨🇦
จะมีแนวโน้มทีดีขึ้น เพราะ ตัวเลขปรับตัวมาเป็นบวก จากการติดลบค่อนข้างเยอะนะครับ
ระยะเวลาซื้อขาย 2 นาที : เทรดขึ้น 🔺 CAD JPY 🇨🇦🇯🇵 : เวลา 19.30 น.
(คำเตือน : การคาดการณ์นี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณในการนำไปใช้ต่อนะครับ)